Asst. Prof. SRISIT CHIANRABUTRA, Ph.D.
E-mail: srisit.chi@stou.ac.th, Tel:02-504-8287
วุฒิการศึกษา
ปริญญาเอก Ph.D. (Engineering Sciences), University
of Southampton, United Kingdom
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมอุตสาหการ), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ประเทศไทย
ส.บ. (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย), มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ประเทศไทย
ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ประเภท ภาคีสมาชิก หมายเลข ภก.15845
ประกาศนียบัตร
- Value Engineering (Technology Promotion
Association – SANNO Institute of Management)
- Total Quality Management Facilitator
(Technology Promotion Institute)
- Need Analysis for HRD and Training
Development (National Institute of Development Administration)
- Mini MBA in Marketing (University of the
Thai Chamber of Commerce)
- Productivity Improvement Techniques for
Supervisor and Engineer (Thailand Productivity Institute)
- Total Productive Maintenance (Thailand
Productivity Institute)
- Rubber Technology (National Science and
Technology Development Agency)
- Cybertools for Research (National Science
and Technology Development Agency)
- Introduction to Sustainable Product Design
(National Science and Technology Development Agency)
ชุดวิชาที่รับผิดชอบ
- 97213 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกระบวนการผลิตและเทคนิคการผลิต
- 97314
เทคโนโลยีการวางแผนและการควบคุมทางการผลิตในอุตสาหกรรม
- 97418 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรม
- 97420 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสำหรับอุตสาหกรรม
- 97423 การวางผังโรงงานและการศึกษาการทำงานในอุตสาหกรรม
อาจารย์ประจำหลักสูตร
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม)
ผลงานวิจัย
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ “พัฒนาการออกแบบแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกสำหรับชิ้นส่วน Damper Gear ด้วยคอมพิวเตอร์” สถาบันยานยนต์ และ บริษัท ยูเนี่ยนนิฟโก้ จำกัด ก.ค. 46 – พ.ย. 46 (255,000บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ “การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบวิเคราะห์และผลิตโครงสร้างรถแข่งแบบโครงถัก” สถาบันยานยนต์ และ บริษัท เอม เรซซิ่ง โปรเจ็ค จำกัด พ.ย. 46 – ก.ค. 47
(595,000 บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ “พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ ปรับปรุงแบบและเทคนิคการผลิตลาย ดอกยางสำหรับยางอัดดอก” สถาบันยานยนต์ และ หจก.
บำรุงยาง พ.ค. 47 – ก.ย. 47 (595,000 บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ “การออกแบบหมวกนิรภัยและแม่พิมพ์หมวกนิรภัยสำหรับเด็กมาตรฐาน มอก.” สถาบันยานยนต์ และ บริษัท เอส เค
โพลิเมอร์ จำกัด ม.ค. 47 – มิ.ย. 47 (600,000 บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ “การพัฒนาความสามารถในการออกแบบและวิเคราะห์ถังบรรจุของเหลวสำหรับรถบรรทุก” สถาบันยานยนต์ และ บริษัท ไฮล์ เอเชีย จำกัด มิ.ย. 47 – ก.ย. 47 (600,000บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ “ศึกษาภาพรวมและจัดทำเส้นทางเทคโนโลยี (Technology Roadmap) ของชาติ กรณีศึกษาชุดโครงการวิทยาศาสตร์แห่งชาติด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และ อุตสาหกรรม ชุดโครงการวิจัยแห่งชาติเกี่ยวกับเทคโนโลยีสะอาดและเทคโนโลยีการจัดการของเสีย” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เม.ย. 48 – ก.ย. 48 (600,000 บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ “การศึกษาปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของกลุ่มรับซื้อน้ำยางของเกษตรกรสวนยางในเขตพื้นที่ภาคใต้
ระยะที่ 2 การจัดสร้างเครื่องมือและปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน”สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ก.ค. 48 - ธ.ค. 48 (100,000 บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการประดิษฐกรรมเพื่อการพัฒนาชนบทประจำปีงบประมาณ 2548 “โครงการเครื่องกรีดยาง” สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เม.ย. 48
– พ.ค. 49 (202,800 บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ “การศึกษาความเข้าใจด้านคุณภาพและเทคนิคด้านคุณภาพที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม
โดยวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบกับลักษณะนิสัยและวัฒนธรรมของคนไทย
กรณีศึกษาในพื้นที่จังหวัดสงขลาและจังหวัดใกล้เคียง” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ต.ค. 49 - ก.ย. 50 (83,800 บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ “การนำเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพมาใช้ประโยชน์ในการออกแบบหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้น
สำหรับนักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ต.ค. 49 - ก.ย. 50 (49,600 บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ “การนำเทคนิคทางการบริหารความสัมพันธ์ลูกค้ามาประยุกต์ใช้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ต.ค. 49 - ก.ย. 50
(49,600 บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ “ฟังก์ชันช่วยทำงานสำหรับการออกแบบแม่พิมพ์อัดยางบนซอฟต์แวร์สำเร็จรูป”
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เม.ย. 50 - ต.ค. 51 (636,200 บาท)
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ "พัฒนาสร้างเครื่องคัดแยกมะขามปนเปื้อนอัตโนมัติด้วยระบบรังสียูวีและการวิเคราะห์ภาพถ่าย" สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สวทช.) 2559 - 2560
การตีพิมพ์เผยแพร่ (Journal/Proceedings)
ผลงานประเภทบทความวิชาการ
1. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, "รีโทรฟิต (Retrofit) ทางเลือกของอุตสาหกรรมไทยยุคนี้”, วารสารอินดัสเตรียลรีวิว ฉบับที่ 70 เดือนพฤษภาคม 2543
2. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, "การใช้ลำแสงเลเซอร์ในการตรวจวัดเครื่องจักรและอุปกรณ์”,
วารสารอินดัสเตรียรีวิว ฉบับที่ 73 เดือนกรกฎาคม 2543
3. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, "จุดที่มักผิดพลาดในการเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักรซีเอ็นซี”,
วารสารแมคานิเคิลเทคโนโลยี ฉบับที่ 1 เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2544
4. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, "ความผิดพลาดที่มักพบเมื่อใช้ CAD/CAM มาช่วยในการเขียนโปรแกรมซีเอ็นซี”, วารสารแมคานิเคิลเทคโนโลยี ฉบับที่ 2 เดือนสิงหาคม - กันยายน 2544
5. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, "การตัดสินใจเลือกเครื่องจักรกลซีเอ็นซี”, วารสารแมคานิเคิลเทคโนโลยี ฉบับที่ 6 เดือนพฤษภาคม 2545
6. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, "การใช้ประโยชน์เครื่องจักรกลซีเอ็นซีอย่างคุ้มค่าได้อย่างไร”,
วารสารแมคานิเคิลเทคโนโลยี ฉบับที่ 3 เดือนตุลาคม – พฤศจิกายน 2545
7. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, "กฎแห่งความปลอดภัย
ในการใช้งานเครื่องจักรกลซีเอ็นซี”, วารสารแมคานิเคิลเทคโนโลยี ฉบับที่ 9 เดือนกรกฎาคม 2545
8. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, "การออกแบบผังโรงงานฉีดพลาสติก”, วารสารแม่พิมพ์
ฉบับที่ 3 ปีที่ 15 เดือนกรกฎาคม
- กันยายน 2546
ผลงานประเภทบทความวิจัย
1. Chianrabutra
S.,
Wongsto A. and Sirithanapipat T., “Balancing gate and Runner Systems for a Family Mold Using CAE Tools”, ME-NETT#18
National Conference, Khon Kan, Thailand, 2004
2. ศุภสิทธิ์ รอดขวัญ สุชาดา เหรียญโมรา ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร และ
จตุพล พึ่งยนต์, “การศึกษาวิธีสร้างแบบจำลองในคอมพิวเตอร์ด้วยวิธีวิศวกรรมย้อนรอยโดยใช้อุปกรณ์เก็บค่าพิกัดสามมิติระบบแสงเลเซอร์” The 3rd PSU-Engineering
Conference (PEC-3), Songkhla, Thailand, 2004
3. ณัฐพล จันทร์พาณิชย์ ชนะ รักษ์ศิริ ศรีสิทธิ์
เจียรบุตร และ ศุภสิทธิ์ รอดขวัญ, “วิศวกรรมย้อนรอยในงานสร้างแบบกังหันกำลังสามมิติ”,
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทยครั้งที่ 19, สงขลา,
ประเทศไทย, 2548
4. Supapan
Chaiprapat, Pichet Trakarnchaisiri, Srisit Chianrabutra, Tidaporn
Tongrueng, and Charnwit Leelawattanakiet., “A computerized approach to
feature-based process planning in furniture manufacturing” , IE Network
Conference, Bangkok, Thailand, 2005
5. ศุภสิทธิ์
รอดขวัญ ภัคธร สงวนสิน ชนะ รักษ์ศิริ คุณยุต เอี่ยมสะอาด และ ศรีสิทธิ์
เจียรบุตร, “การศึกษาความสามารถในการถูกตัดเฉือนของยางโดยกระบวนการกัดและการกลึง”,
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทยครั้งที่ 20,
จังหวัดนครราชสีมา, ประเทศไทย, 2549
6. Runchana
Sinthavalai and Srisit Chianrabutra, “The Integrated Model Combining Knowledge Management and
Quality Management Concepts”, The 11th Annual International Conference on
Industrial Engineering Theory, Applications and Practice, Nagoya, Japan, 2006
7. ผศ.ดร.นภิสพร มีมงคล ดร.รัญชนา สินธวาลัย และ นายศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, “A Case Study of Applying the
Concept of Customer Relationship Management to the Stakeholders of Department
of Industrial Engineering”, การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ,
จังหวัดภูเก็ต, ประเทศไทย, 2550
8. ดร.รัญชนา สินธวาลัย ผศ.ดร.นภิสพร มีมงคล และ นายศรีสิทธิ์ เจียรบุตร,
“การประยุกต์ใช้บ้านคุณภาพเพื่อสร้างหลักสูตรระยะสั้นสำหรับเตรียมความพร้อมนักศึกษาฝึกงาน
กรณีศึกษาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ”, การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ,
จังหวัดภูเก็ต, ประเทศไทย, 2550
9. นายศรีสิทธิ์ เจียรบุตร ผศ.ดร.นภิสพร มีมงคล และ
ดร.รัญชนา สินธวาลัย, “การนำเทคนิคการวิเคราะห์ข้อขัดข้องและผลกระทบมาปรับปรุงกระบวนการฝึกงานของนักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ” , การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ,
จังหวัดภูเก็ต, ประเทศไทย, 2550
10. นายชุกรี แดสา ผศ.ดร.สุภาพรรณ ไชยประพัทธ์
และ นายศรีสิทธิ์
เจียรบุตร,
“ระบบการออกแบบแม่พิมพ์อัดสำหรับขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ยาง”, การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ,
จังหวัดภูเก็ต, ประเทศไทย, 2550
11. Runchana Sinthavalai, Napisaporn
Memongkol and Srisit Chianrabutra, “Integrating KM in CRM Practice: A
Case Study in Higher Education”, The 5th International
Conference on Quality and Reliability, Chiang Mai, Thailand, 2007
12.
Runchana
Sinthavalai, Napisaporn Memongkol and Srisit Chianrabutra, “Quality
Culture and Practice: Japanese and Western Owned Firm with Thai Affiliations”, The 5th
International Conference on Quality and Reliability, Chiang Mai,
Thailand, 2007
13. Vaezi, Mohammad, Srisit
Chianrabutra, Brian Mellor, and Shoufeng Yang, "Multiple material
additive manufacturing–Part 1: a review: This review paper covers a decade of
research on multiple material additive manufacturing technologies which can
produce complex geometry parts with different materials", Virtual and
Physical Prototyping , 2013
14. Srisit Chianrabutra, Brian Mellor, and Shoufeng Yang,
"A Dry Powder Material Delivery Device for Multiple Material Additive
Manufacturing", Solid Freeform Fabrication Symposium Proceedings The
University of Texas at Austin, United State of America, 2014
15. Ramil Kesvarakul, Chamaporn Chianrabutra and Srisit Chianrabutra. “Baby Shrimp Counting via Automated Image Processing.”, Proceedings of the 9th International Conference on Machine Learning and Computing, ICMLC, 2017
16. กนกวรรณ สืบสาย และ ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, "การลดปริมาณชิ้นงานที่ถูกปฏิเสธด้วยเครื่องมือคุณภาพ : กรณีศึกษาโรงงานผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักร", การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ, จังหวัดอุบลราชธานี, ประเทศไทย, 2561
17. THASANA, Wiroj, and Srisit CHIANRABUTRA. "A comparison between simulation and experiment of virtual machining in CNC turning machine considering kinematic motion deviations, tool wear and workpiece deflection errors." Journal of Advanced Mechanical Design, Systems, and Manufacturing 13.1 (2019): JAMDSM0009-JAMDSM0009.
18. ธัชพล กุลชาติวิจิตร, ชมาพร
เจียรบุตร, ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, ณัฐพงศ์ มณีอินทร์, วัชรพงษ์
พึ่งพา และเสฎฐวุฒิ เรืองแสง, "การศึกษาวัสดุขั้วแอโนดเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจากจุลินทรีย์
KU-EGAT13", การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย, จังหวัดนครราชสีมา, ประเทศไทย, 2562
การแต่งเอกสารการสอน/ตำรา
1. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, เอกสารการสอนชุดวิชา 97213 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกระบวนการผลิตและเทคนิคการผลิต, หน่วยที่ 2 แบบวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมการผลิต, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
3/2554
2. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, เอกสารการสอนชุดวิชา 97213 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกระบวนการผลิตและเทคนิคการผลิต, หน่วยที่ 11 การตัดเฉือนแบบพิเศษ, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
3/2554
3. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร และสุภาพรรณ ไชยประพัทธ์, เอกสารการสอนชุดวิชา 97316 เทคโนโลยีในการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต, หน่วยที่ 10 เทคโนโลยีการจัดกลุ่มและคอมพิวเตอร์ช่วยในการวางแผนกระบวนการผลิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
3/2554
4. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, เอกสารการสอนชุดวิชา 97316 เทคโนโลยีในการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต, หน่วยที่ 12 เครื่องจักรกลซีเอ็นซีและหุ่นยนต์อุตสาหกรรม, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
3/2554
5. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, เอกสารการสอนชุดวิชา 97421 ประสบการณ์วิชาชีพเทคโนโลยีการผลิตอุตสาหกรรม, หน่วยที่ 1 วิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอุตสาหกรรมการผลิต, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
1/2554
6. ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, เอกสารการสอนชุดวิชา 97316 เทคโนโลยีในการออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต
(ปรับปรุงครั้งที่ 1), หน่วยที่ 14 เทคโนโลยีการผลิตด้วยวิธีเพิ่มเนื้อวัสดุ, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 1/2560
7. ไมตรี วสันติวงศ์
และศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, เอกสารการสอนชุดวิชา 32723 เทคนิคเชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจและการจัดการการดำเนินงาน
(ปรับปรุงครั้งที่ 2), หน่วยที่ 8 กลยุทธ์การดำเนินงานและการออกแบบผลิตภัณฑ์, สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 1/2560
8. ชุมพร คูร์พิพัฒน์
ประภาศรี พงศ์ธนาพาณิช และศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, เอกสารการสอนชุดวิชา 32723 เทคนิคเชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจและการจัดการการดำเนินงาน
(ปรับปรุงครั้งที่ 2), หน่วยที่ 9 ระบบการผลิตและการบริการ, สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 1/2560
9. เธียรไชย จิตต์แจ้ง
และศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, เอกสารการสอนชุดวิชา 32723 เทคนิคเชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจและการจัดการการดำเนินงาน
(ปรับปรุงครั้งที่ 2), หน่วยที่ 15 การบำรุงรักษา,สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 1/2560
10. ขจิตพรรณ กฤตพลวิมาน สิทธิชัย รัชยศโยธิน และศรีสิทธิ์ เจียรบุตร, เอกสารการสอนชุดวิชา 97317 ระบบสารสนเทศและระบบอัตโนมัติในอุตสาหกรรม (ปรับปรุงครั้งที่ 1 ) หน่วยที่ 8 ระบบอัตโนมัติทางการผลิตในอุตสาหกรรม, สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 1/2561
ความสนใจ
- เทคโนโลยีการผลิตด้วยวิธีเพิ่มเนื้อวัสดุ (Additive Manufacturing/Rapid Manufacturing/3D Printing Technology)
- เทคโนโลยีการผลิตขั้นสูง (Advanced Manufacturing Technology)
- เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยในกระบวนการผลิต (CAD/CAE/CAM Technology)
- วิศวกรรมการออกแบบและการผลิต (Design and Manufacturing Engineering)
- วิศวกรรมการเพิ่มผลิตภาพและการปรับปรุงกระบวนการ (Productivity Engineering and Process Improvement)
- การจัดการการผลิตและการดำเนินงาน (Production and Operation Management)
ประสบการณ์ทำงาน
2560 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาวิศวกรรมการผลิต) ประจำแขนงเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาสุโขทัยธรรมาธิราช
2559 - 2560 อาจารย์ประจำแขนงเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาสุโขทัยธรรมาธิราช
2553 - 2557 ผู้ช่วยสอน คณะวิศวกรรมศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยเซาแธมป์ตัน ประเทศอังกฤษ
2550 - 2552 อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น
2548 - 2550 อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2540 - 2548 วิศวกร/หัวหน้าฝ่ายบริการเทคนิคและอบรมสัมมนา/หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรม
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสากรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์